ตรวจสอบและทบทวน
ตรวจสอบและทบทวน
ในการเขียนแผนจัดการเรียนรู้ขั้น
การกําหนดจุดหมายการเรียนรู้ ปฏิบัติการเขียนแผนจัง เรียนรู้ด้วยการระบุสาระ
มาตรฐานและตัวชี้วัด จากหลักสูตรที่ตรงกับสาขาวิชาเอกหรือกลุ่มสาระที่
แล้วเขียนข้อความที่แสดงว่าผู้เรียนจะเรียนรู้อะไร และสามารถทําอะไรได้
ข้อความที่เป็นความรู้ โดยการ ความรู้ในรูปของสารสนเทศ (declarative
knowledge) ( เช่น ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง...) และข้อ
ที่เป็นการปฏิบัติ โดยการระบุทักษะ การปฏิบัติ หรือกระบวนการ (procedural
knowledge) ( เช่น ผู้เรียนสามารถที่จะปฏิบัติหรือกระทําเรื่อง...)
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
|
||
หน่วยการเรียนรู้ที่
1 เรื่อง ของเล่นของใช้
|
||
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
|
ว 3.1 ป.1/1 ป1/2
|
|
สาระสำคัญ
|
ของเล่นมีหลายประเภทซึ่งช่วยสร้างความสนุกสนาน
เพลิดเพลิน และเป็นการเสริมสร้างทักษะกระบวนการเรียนรู้ได้หลายด้าน
ส่วนของใช้คือ ของที่ใช้สอยในชีวิตประจำวัน
ของเล่นของใช้ผลิตจากวัสดุที่มีสมบัติแตกต่างกันไป
มีทั้งวัสดุจากธรรมชาติและวัสดุที่มนุษย์สร้างขึ้น พบเห็นได้ในท้องถิ่น การเก็บและการดูแลรักษา ควรเก็บไว้ให้เป็นหมวดหมู่
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตประจำวัน
|
|
โครงสร้างการจัดเวลาเรียน
|
||
แผนการจัดการเรียนรู้ที่
|
เรื่อง
|
เวลาเรียน(ชั่วโมง)
|
1
|
รู้จักของเล่นของใช้
|
1
|
2
|
วัสดุที่นำมาทำของเล่นของใช้
|
1
|
3
|
เกณฑ์ในการจัดกลุ่มของเล่นของใช้
|
1
|
รวม
|
3
|
|
สื่อจากแท็บเล็ต
|
รู้จักของเล่นของใช้
-เกม Kids Education Puggle
-เกม How to make
-บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง รู้จักของเล่นของใช้
วัสดุที่นำมาทำของเล่นของใช้
-เกม Kids Education Puggle
-บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง วัสดุที่นำมาทำของเล่นของใช้
เกณฑ์ในการจัดกลุ่มของเล่นของใช้
-บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องเกณฑ์ในการจัดกลุ่มของเล่นของใช้
|
|
กระบวนการเรียนรู้หลัก
|
Fกระบวนการกลุ่ม
Fวิธีการสอนแบบ
PDCA
Fกระบวนการสำรวจและตรวจสอบ
|
กระบวนการเรียนรู้บูรณาการ
|
1.บูรณาการสู่ชีวิตจริง
โดยใช้สื่อและเหตุการณ์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวันมาจัดทำเป็นผลงานของตนเอง เช่น
สมุดเล่มเล็ก โปสการ์ด
2.บูรณาการแหล่งเรียนรู้ โดยสำรวจของเล่นของใช้ในท้องถิ่น
รวบรวมข้อมูลมาจัดทำเป็นผลงาน
3.ใช้แท็บเล็ตบันทึกภาพ ของเล่นของใช้ในท้องถิ่นที่อยู่รอบตัวและที่สนใจ
แล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน พร้อมช่วยกันจำแนกประเภทและวัสดุที่นำมาใช้ทำของเล่นของใช้ลงในสมุด
4.ครูนำภาพของเล่นของใช้ในท้องถิ่นจำนวน 4-5 ภาพ เช่น กระดานลื่น ชิงช้า
ไม้กวาด ตะกร้าสาน ใส่ไปในแท็บเล็ตของนักเรียนเพื่อให้นักเรียนสังเกตแล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกเกณฑ์ในการจัดกลุ่มของเล่นของใช้
|
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น