การประเมินผลและการนิเทศ
การประเมินผลและการนิเทศ
Carr, Judy F and Harris,
Douglas E. (2001 : 153) กล่าวสรุปไว้ว่า การพัฒนาวิชาชีพ
การนิเทศและการประเมินผล มีจุดหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการเรียนรู้ตามมาตรฐาน
และได้นําเสนอหลักการ ในการพัฒนาด้านวิชาชีพที่อิงมาตรฐาน 7 ประการ
ดังนี้
หลักการที่ 1 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพเกิดจากภาพลักษณ์ที่ดีด้านการเรียน
การพัฒนาวิชาชีพตามระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐาน
มีคําถามที่เกี่ยวข้องเพื่อที่จะบรรลุมาตรฐาน
การสอนดังต่อไปนี้
ใครจะรับผิดชอบมาตรฐานใด
แนวทางการเรียนการสอนจะเป็นอย่างไร
ในชั้นเรียนผู้สอนและผู้เรียนจะมีบทบาทอย่างไร
ระดับผลการเรียนรู้ที่คาดหวังควรตั้งไว้เท่าใด
ใช้เกณฑ์ใดในการกําหนดผลสัมฤทธิ์ของ มาตรฐาน และจะประเมินมาตรฐานอย่างไร
ใช้ข้อมูลใดบ่งบอกว่าบรรลุมาตรฐาน
และอะไรบ้างที่นําไปใช้ในการเรียนการสอน
หลักการที่ 2 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพให้โอกาสผู้สอนได้สร้างองค์ความรู้
และทักษะของตนเอง เป้าหมายของการวางแผนการสอน
มีขอบข่ายเนื้อหาที่จะปรับปรุงผลการเรียนรู้ของ ผู้เรียนอย่างชัดเจน
โดยเชื่อมโยงลําดับความสําคัญของการพัฒนาวิชาชีพกับแผนการสอน กรณีตัวอย่าง
สถานศึกษากําหนดแผนการพัฒนาประกอบด้วยประเด็นหลัก 3 ประเด็น
คือ การวิเคราะห์ผลงานของผู้เรียน รอคทาแฟ้มสะสมงาน
และการพัฒนาวิธีการวัดผลหลังจบหลักสูตร
ในแต่ละประเด็นเน้นการพัฒนาสามารถของผู้สอนในด้านการสอนและประเมินการแก้ปัญหา
โดยเปิดโอกาสให้จัดทําแผนพัฒนาวิชาชีพระยะยาวที่ผู้สอนจะใช้กับผู้เรียน
การสร้างตัวแบบ ตามมาตรฐาน การกําหนดโครงการพัฒน
ผู้เรียนเป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาครู ครู” นําไปปฏิบัติที่ส่งผลต่อการเรียน
ความต้องการของนักเรียน ซึ่งตา มาตรฐานเป็นเกณฑ์
หลักการที่ 3 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพใช้หรือเป็นตัวแบบกลยุทธ์การสอน
3ยน การสร้างตัวแบบเริ่มโดยเน้นที่มาตรฐาน
โดยคาดหวังว่าผู้สอนจะต้องสอนให้เป็นไป "หนดโครงการพัฒนาวิชาชีพจึงต้องยึดมาตรฐาน
ตัวอย่างเช่น การใช้ผลการเรียนรู้ของการพัฒนาครู
ครูต้องร่วมกันวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของนักเรียน ทบทวนสิ่งที่
ผลต่อการเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคน รวมทั้งศึกษาวิจัยเนื้อหาสาระและวิธีการสอนตาม
"กรของนักเรียน สิ่งต่าง ๆ
เหล่านี้สะท้อนให้เห็นการปฏิบัติการสอนที่ดีที่สุดในชั้นเรียนที่ยึดมาตรฐานเป็นเกณฑ์
หลักการที่ 4 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้
หลักการคัญของระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐานสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ได้ดังนี้
มาตรฐานเน้นการเรียนรู้สําหรับผู้เรียนทุกคนและทุกวัย
ผู้เรียนทุกคนสรรค์สร้างการเรียนรู้ใหม่
ๆ ได้
ผู้เรียนเรียนรู้จากผู้อื่นและเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่นได้โดยการค้นคว้าและการฝึกคิดทบทวน
การประเมินผล
ก่อให้เกิดการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้
หลักการที่ 5 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพส่งเสริมครูให้มีบทบาทส.
9. กล่าวคือ
ครูต้องมีภาวะความเป็นผู้นําในระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐาน
บทบาทผู้นําอย่างเป็นทางการของ คือบทบาทเป็นผู้ให้คําปรึกษา
ครูควรเป็นผู้ตัดสินใจในการคัดเลือกทีมงานวางแผนการสอน คัดเลือกเนื้อหา
โดยเน้นผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ครูควรเป็นผู้นําในการกําหนดมาตรฐาน
กําหนดกลยุทธการสอนและการ ประเมินผลและวิเคราะห์ผลงานของนักเรียน
หลักการที่ 6 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพสร้างความเชื่อมโยงกับหน่วย
การศึกษาอื่น การเชื่อมโยงด้วยมาตรฐาน คือ วิธีการดําเนินงานที่เป็นระบบ
ฉะนั้นองค์ประกอบและการ ตัดสินใจล้วนส่งผลต่อส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องด้วยเช่นกัน
หลักการที่ 7 ประสบการณ์การพัฒนาวิชาชีพที่มีประสิทธิภาพต้องประเมินและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ในระบบที่เชื่อมโยงด้วยมาตรฐาน ความมีประสิทธิผลวัดได้จากพัฒนาการของนักเรียน
ความมีป รวมถึงความเป็นเลิศทางวิชาการของนักเรียนทุกคน
และความเสมอภาค(ลดช่องว่างผลสัมฤทธิ ที่แตกต ระหว่างผู้เรียน) หรือทั้งสองอย่าง
กระบวนการวางแผนการสอนจะต้องพิจารณาความก้าวหน้าของนก
อย่างต่อเนื่องและปรับปรุงโดยใช้ผลการเรียนรู้ของนักเรียน
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น