การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
The Solo taxonomy
The Solo taxonomy เป็นการจัดระดับเพื่อประโยชน์ในการแสดงคุณสมบัติเฉพาะในระดับต่างๆกันขอคำถาม
และคำตอบที่คาดว่าจะได้รับจากผู้เรียน
เป็นชุดของเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นผลงานของ Biggs and Collis
(1982). “SOLO, มาจากคำว่า Structure of Learning Outcome, :
เป็นระบบที่นำมาช่วยอธิบายว่า
ผู้เรียนมีพัฒนาการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไร
ในการเรียนเพื่อรอบรู้ที่มีความหลากหลายของภาระงานทางวิชาการ
ดูที่นิยมจุดประสงค์ของหลักสูตร ในสภาพที่พึงประสงค์ของการปฏิบัติ
เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริง
การใช้ Solo taxonomy ในการกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้
Solo taxonomy คือ
การกำหนดระดับคุณภาพผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งในโรงเรียนเฉพาะกาล
และการให้คะแนนจากผลงานเท่านั้น แต่ Solo taxonomy เป็นกระบวนการที่ให้ความสำคัญว่าผู้เรียนมีวิธีการเรียนรู้
สิ่งที่สำคัญประการหนึ่งคือ
กูจะต้องมีวิธีการสอนอย่างไรที่ผู้เรียนได้ใช้ปัญญาที่มีความซับซ้อนและก่อให้เกิดพัฒนาการมากขึ้น
Solo taxonomy ได้รับการสนับสนุนโดย Biggs และ Collis
The Solo taxonomy เป็นชุดของเกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ที่เป็นผลงานของ Biggs and
Collis (1982).“SOLO, มาจากคำว่า Structure of Learning
Outcome, : ถึงระบบที่นำมาช่วยอธิบายว่า
ผู้เรียนมีพัฒนาการการปฏิบัติที่ซับซ้อนอย่างไร
ในการเรียนเพื่อรอบรู้ที่มีความหลากหลายของภาระงานทางวิชาการ
โดยที่นิยมจุดประสงค์ของหลักสูตร ในสภาพที่พึงประสงค์ของการปฏิบัติ เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนที่ปฏิบัติได้จริง
การใช้ Solo taxonomy จะช่วยให้ทั้งครูและผู้เรียนตระหนักถึงองค์ประกอบที่หลากหลายจากหลักสูตรได้อย่างแจ่มชัดขึ้น
แนวคิดดังกล่าวถูกนำไปกำหนดเป็นนโยบายใช้ในการประเมินในมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาหลายแห่ง
สืบเนื่องจากสามารถนำไปใช้ได้ในหลายสาขาวิชา
การประเมินความสามารถในการปฏิบัติของผู้เรียนอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาผู้เรียนในแง่ของความเข้าใจที่ซับซ้อน
ซึ่งความเข้าใจดังกล่าวแบ่งได้เป็น 5 ระดับ (1) ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (Pre - structural) (2) ระดับโครงสร้างเดียว
(Unit-structural) (3) ระดับโครงสร้างหลากหลาย (Multi-
structural) (4) ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational
Level) (5) ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย (Extended
Abstract Level)
โครงสร้างการสังเกตผลสัมฤทธิ์การเรียน Biggs และ Collis เสนอวิธีการไว้ดังต่อไปนี้ 1) กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนปฏิบัติในบทเรียน
(To Set learning objective appropriate to where students should be at a
particulr stage of their program) และ 2) ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน
(To assess the learning outcome attaained by each Student) ไม่เขียนวัตถุประสงค์การเรียนรู้ต้องมั่นใจว่าคำกริยาที่นำมาใช้เพื่อการประเมินมีความถูกต้องเหมาะสมในแต่ละระดับ
ดังนี้
- ระดับโครงสร้างพื้นฐาน
(pre - structural)นักเรียนได้รับข้อมูลเป็นส่วนๆ
ที่ไม่ปะติดปะต่อกัน ไม่มีการจัดการข้อมูล และความหมายโดยรวมของข้อมูลไม่ปรากฏ
- ระดับโครงสร้างเดียว(
Unit- structural )ทุเรียนเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐาน
ง่ายต่อการเข้าใจ แต่ไม่แสดงความหมายของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
- โครงสร้างระดับหลักหลาย(
Mult-structural)ทุเรียนเชื่อมโยงข้อมูลหลายๆ
ชนิดเข้าด้วยกัน ความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างความเกี่ยวโยงของข้อมูลไม่ปรากฏ
- ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational
Level) ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงข้อมูลได้
ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูล และภาพรวมทั้งหมดได้
- ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย
(Extended Abstract Level) ทุเรียนเชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับ
ผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญ แนะแนวคิดที่ซ่อนอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง
ตารางที่ 24 การจัดระดับ
Solo taxonomy คำถามและการตอบสนองที่คาดหวังจากผู้เรียน
การจัดระดับ SOLO
|
คำถามและการตอบสนองที่คาดหวังจากผู้เรียน
|
ระดับโครงสร้างพื้นฐาน (pre - structural)
|
ผู้เรียนได้รับข้อมูลเป็นส่วนส่วน ที่ไม่ปะติดปะต่อกันไม่มีการจัดการข้อมูล
ความหมายโดยรวมของข้อมูลไม่ปรากฏ
|
ระดับโครงสร้างเดียว( Unit- structural )
|
ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐาน
ง่ายต่อการเข้าใจไม่แสดงความหมายของความเกี่ยวโยงของข้อมูล
|
โครงสร้างระดับหลักหลาย( Mult-structural)
|
ผู้เรียนเชื่อมโยงข้อมูลหลายๆ
ชนิดเข้าด้วยกันความหมายของความสัมพันธ์ระหว่างความเกี่ยวโยงของข้อมูลไม่ปรากฏ
|
ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง(Relational Level)
|
ผู้เรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูลได้นักเรียนแสดงความสัมพันธ์ของความเกี่ยวโยงของข้อมูลและภาพรวมทั้งหมดได้
|
ระดับแสดงความต่อเนื่องในโครงสร้างภาคขยาย
(Extended Abstract Level)
|
นักเรียนเชื่อมโยงข้อมูลนอกเหนือจากหัวข้อเรื่องที่ได้รับ
ผู้เรียนสามารถสรุปและส่งผ่านความสำคัญ
และแนวคิดที่ซ่อนอยู่ภายใต้กรณีตัวอย่าง
|
เพื่อความเข้าใจในการทำมโนทัศน์ Solo taxonomy ไปใช้ บิกส์ ได้สรุปดังตารางที่ 25
ตารางที่ 25 ระดับของความเข้าใจ
ระยะของการเรียนรู้ และคำกิริยาที่ใช้
ระดับของความเข้าใจที่นักเรียนแสดงออกในการเรียนรู้
|
ระยะของการเรียนรู้
|
คำกริยาที่ใช้
|
ระดับความต่อเนื่องภาคขยาย()
- สามารถสร้างเป็นความคิดเชิงมโนทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรียนได้
- สามารถสรุปอ้างอิง()ไปยังเนื้อหาใหม่ๆ
ได้
|
ระยะเชิงคุณภาพ
ลักษณะ / พฤติกรรมของการตอบสนองจากการเรียนรู้ของนักเรียนมีการบูรณา()การสู่แผนเชิงโครงสร้าง
()
|
- สร้างทฤษฎี
- สรุปอ้างอิง
- ตั้งสมมติฐาน
- สะท้อน
- สร้างขึ้น
|
ระดับความสัมพันธ์ของโครงสร้าง ()
- พฤติกรรมที่แสดงออกให้เห็นถึงการจัดการระหว่างความจริงและทฤษฎีพฤติกรรมและจุดมุ่งหมาย
- มีความเข้าใจในหลายๆ
เนื้อหา/องค์ประกอบย่อยๆ ซึ่งสามารถบูรณาการมาเป็นมโนทัศน์
- สามารถนำมโนทัศน์ไปประยุกต์ใช้กับปัญหาอื่นๆ
ที่คล้ายคลึงกันหรือการปฏิบัติงาน
|
- เปรียบเทียบ/
ระบุความแตกต่าง
- อธิบายเชิงเหตุผล
- บูรณาการ
- วิเคราะห์
- แสดงความสัมพันธ์
- นำไปใช้
|
|
ระดับโครงสร้างหลากหลาย
- พฤติกรรมที่แสดงออกชี้ให้เห็นถึงความเข้าใจที่กว้างขวางมากขึ้น
แต่ยังไม่เป็นระบบ
- ความเข้าใจเฉพาะเนื้อหา
/ องค์ประกอบย่อยๆ เท่านั้น
- ไม่สามารถจัดระบบของการรวบรวมความคิดหรือมโนทัศน์ของเนื้อหา/ประเด็นต่างๆได้
- ไม่สามารถแสดงความสัมพันธ์ของรายการย่อยกับข้อรายการทั้งหมด
|
ระยะเชิงปริมาณ
รายละเอียดของการตอบสนองที่เกิดจากการเรียนรู้ของนักเรียนมีปริมาณที่เพิ่มขึ้น
|
- แจงนับ ยกตัวอย่าง
- จำแนกแยกแยะ
- อธิบาย
- ลงรายการ
- เชื่อมโยง
- ให้ทำตามลำดับขั้นตอน
|
ระดับโครงสร้างเดี่ยว
- พฤติกรรมที่แสดงออกเป็นรูปประธรรม
ความเข้าใจเนื้อหาเพียงเล็กน้อย
- เน้นเฉพาะเนื้อหา /
ประเด็นที่มีความคิดรวบยอดเพียงเรื่องเดียว
|
- ระบุ
- จำ
- ให้ทำตามขั้นตอนง่ายๆ
|
|
ระดับโครงสร้างพื้นฐาน
พฤติกรรมที่แสดงขาดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหา/ประเด็น
|
ถ้าจุดสำคัญ/ประเด็นสำคัญ
|
ตารางที่ 26 ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับ Solo
taxonomy
Solo taxonomy มีความเหมาะสมกับการวัดสมรรถนะ
|
Biggs and Collis 1982
|
ความเป็นอิสระในบริบทของการทำแผนภาพSOLO
(แต่ละสมรรถนะเราตรวจสอบได้จากจุดมุ่งหมายต่างๆ)
|
การสรุปแนวคิด/ผลโดยประมาณ
|
ความเป็นอิสระ
(ข้อจำกัดของเราคือ บริบทของศาสตร์/วิชาการ)
|
การสรุปแนวคิด/ผลโดยประมาณ
|
ข้อสมมติฐานเกี่ยวกับการให้น้ำหนักที่เท่ากัน
(สมรรถนะจุดมุ่งหมายและหลายจุดมุ่งหมายในหลักสูตรกำหนดน้ำหนักเท่ากัน)
|
การสรุปแนวคิด/ผลโดยประมาณ
|
ผลลัพธ์: ความมุ่งมั่น/เจตนา->วางนโยบายและแผนการ->ผลสัมฤทธิ์
(เรา
วิเคราะห์นโยบาย/แผนการ แต่ เหตุผล เพื่อ ผลสัมฤทธิ์)
|
การนำไปใช้
|
ประเด็นสำคัญที่พึงระมัดระวังในการใช้ Solo
taxonomy
การปรับใช้ Solo taxonomy กับแนวคิดการสร้างสรรค์องค์ความรู้ ต้องนึกอยู่เสมอว่าปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการสอนและการเรียนรู้
มีอยู่มากมาย อาทิ
ในการสอนครูผู้สอนมีวิธีการสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้อย่างไร
ครูผู้สอนต้องมีความรู้เกี่ยวกับแรงจูงใจในการเรียนรู้ของผู้เรียน
ในการเรียนรู้ผู้เรียนมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด
จะต้องมีสิ่งสนับสนุนอะไรจึงจะช่วยให้ผู้เรียนบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการจัดการเรียนรู้
การกำหนดระดับคุณภาพของสมรรถนะนี้เป็นการให้ความสำคัญที่การเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคนตามความสามารถ
(แทน “สิ่งที่ครูมักพบว่านักเรียนคนนั้น คนนี้ เก่ง/ไม่เก่ง
หรือดี/ ไม่ดี ) และการสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนเพื่อจะนำไปสู่การเรียนรู้ที่ดี
การปฏิบัติตามแนวคิดดังกล่าวนี้ สรุปได้ว่า
- ทำให้ ILO ชัดเจนยิ่งขึ้น(
ความมุ่งมั่น/ เจตนา (Intended ) การเรียนรู้ (Learning)
ผลผลิต (outcomes)
- การทดสอบสมรรถนะ =>
ILO’s => การสอน
ครูผู้สอนต้องบอกกระบวนการ ILO ในการบรรลุผลการเรียนรู้
ให้นักเรียนได้รับทราบด้วย
Solo taxonomy มีเหมาะสมดีที่นำมาใช้ในการให้เหตุผลในการกําหนดสมรรถนะในหลักสูตรและรายวิชาต่างๆ
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
SOLO 4 : การพูดอภิปราย
สร้างทฤษฎี ทำนายหรือพยากรณ์
SOLO 3 : อธิบาย
เปรียบเทียบ
SOLO 2 :
SOLO 1 :
บทบาทของการสอบ
“การสอบไม่ใช่สิ่งที่ตามมาแต่ต้องคิดไว้ก่อน” แนวคิดสำคัญ
ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อต้องการทดสอบสมรรถนะหรือผลผลิตของการสอน
นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องมีความรู้ต่อไปนี้
ทฤษฎีการวางแผน
( ตลอดโปรแกรมของหลักสูตร)
ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ(และสิ่งที่กระตุ้นแรงจูงใจ
)
ทั้งนี้เพื่อปรับเปลี่ยนความคิด “การสอบคล้ายกับ “การปรับเปลี่ยนจากความชั่วร้าย
เป็นการสร้างแรงจูงใจ และแนวทางในการเรียนรู้
ที่เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน
การจัดลำดับของจุดประสงค์การเรียนรู้ของบลูม
(Boom taxonomy 1956) เมื่อนำมาสัมพันธ์กันกับแนวคิด Solo
taxonomy ของ Biggs and Collis 1982
SOLO
1 และ 2 สอดคล้องกับแนวคิดของ บลูม
ในขั้นความรู้ ความเข้าใจและการนำไปใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ
SOLO
3 และ 4 สอดคล้องกับแนวคิดของ บลูม
ในขั้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าข้อมูลเชิงคุณภาพ
ตัวอย่าง การกำหนดค่าระดับคุณภาพการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ระดับ
SOLO 1 หมายถึงการเรียนแบบและคงไว้ซึ่งของเดิม
การเขียนแผนจะยึดตำราเป็นหลัก ทำแบบฝึกหัดตามหนังสือ จัดกิจกรรมซ้ำๆ เดิม
ใช้สื่ออุปกรณ์สำเร็จรูปไม่มีการประเมินการใช้จริง
ระดับ SOLO 2 การปรับประยุกต์ใช้
การนำแผนการสอนที่มีอยู่ให้ดีขึ้นมีการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับโลกแห่งความเป็นจริง
(Real World) มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาเล็กน้อยคำนึงสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
เน้นทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ
ระดับ
SOLO 3 หมายถึง การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Creative-generative)
การเขียนแผนที่คำนึงถึงพฤติกรรมใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้
จะเขียนแผนแนวทางมหภาค ใช้ผลงานการวิจัยประกอบ
การสอนเน้นมโนทัศน์ของวิชาการนั้นๆและบูรณาการแบบข้ามกลุ่มสาระ
บทบาทของการสอบ
“การสอบไม่ใช่สิ่งที่ตามมาแต่ต้องคิดไว้ก่อน”
แนวคิดสำคัญ ในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อต้องการทดสอบสมรรถนะหรือผลผลิตของการสอน
นักพัฒนาหลักสูตรจะต้องมีความรู้ต่อไปนี้
ทฤษฎีการวางแผน ( ตลอดโปรแกรมของหลักสูตร)
ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจ(และสิ่งที่กระตุ้นแรงจูงใจ )
ทั้งนี้เพื่อปรับเปลี่ยนความคิด “การสอบคล้ายกับ “การปรับเปลี่ยนจากความชั่วร้าย
เป็นการสร้างแรงจูงใจ และแนวทางในการเรียนรู้
ที่เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน
การจัดลำดับของจุดประสงค์การเรียนรู้ของบลูม (Boom taxonomy 1956) เมื่อนำมาสัมพันธ์กันกับแนวคิด
Solo taxonomy ของ Biggs and Collis 1982
SOLO 1 และ
2 สอดคล้องกับแนวคิดของ บลูม ในขั้นความรู้
ความเข้าใจและการนำไปใช้ข้อมูลเชิงปริมาณ
SOLO 3 และ
4 สอดคล้องกับแนวคิดของ บลูม ในขั้นการวิเคราะห์ สังเคราะห์
และประเมินค่าข้อมูลเชิงคุณภาพ
ตัวอย่าง การกำหนดค่าระดับคุณภาพการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
ระดับ SOLO 1 หมายถึงการเรียนแบบและคงไว้ซึ่งของเดิม
การเขียนแผนจะยึดตำราเป็นหลัก ทำแบบฝึกหัดตามหนังสือ จัดกิจกรรมซ้ำๆ เดิม
ใช้สื่ออุปกรณ์สำเร็จรูปไม่มีการประเมินการใช้จริง
ระดับ SOLO 2 การปรับประยุกต์ใช้
การนำแผนการสอนที่มีอยู่ให้ดีขึ้นมีการบูรณาการเนื้อหาให้สอดคล้องกับโลกแห่งความเป็นจริง
(Real World) มีการปรับเปลี่ยนเนื้อหาเล็กน้อยคำนึงสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้
เน้นทฤษฎีมากกว่าการปฏิบัติ
ระดับ SOLO 3 หมายถึง
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ (Creative-generative) การเขียนแผนที่คำนึงถึงพฤติกรรมใหม่ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ จะเขียนแผนแนวทางมหภาค ใช้ผลงานการวิจัยประกอบ
การสอนเน้นมโนทัศน์ของวิชาการนั้นๆและบูรณาการแบบข้ามกลุ่มสาระ
การแปลความหมายของค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย 1.00 - 1.49 หมายความว่า
มีความสามารถในการเขียนแผนและการนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบ The
STUDIES model ระดับต่ำ/ปรับปรุง
ค่าเฉลี่ย 1.50 - 2.49 หมายความว่า
มีความสามารถในการเขียนแผนและการนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ตามรูปแบบThe
STUDIES model ระดับปาน/กลางพอใช้
ค่าเฉลี่ย 2.50 - 3.00 หมายความว่า
มีความสามารถในการเขียนแผนและการนำแผนจัดการเรียนรู้โดยใช้ตามแบบ The
STUDIES model ระดับสูง/ดี
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น